วันพุธที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

ร้านauction1234

ร้านauction1234

วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

บทที่5

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5
ระบบเลขจำนวนและรหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว

1. คอมพิวเตอร์ทำงานกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบของเลขฐานใด
ก. เลขฐานสอง
2. ตัวเลขในระบบเลขฐานสอง ประกอบด้วย
ง. 0 ถึง 9
3. ตัวเลขในระบบเลขฐานแปด ประกอบด้วย
ค. 0 ถึง 7
4. ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบ ประกอบด้วย
ข. 0 ถึง9
5. ตัวเลขในระบบเลขฐานสิบหก ประกอบด้วย
ก. 0 ถึง F
6. (111)2 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ค. 7
7. 12 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสอง
ง. (1100)2
8. ตัวเลขในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. (110)8
9. ค่า (132)8 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ก. 90
10. 797 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานแปด
ค. (1435)8
11. (13A)16 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบ
ง. 314
12. 331 มีค่าเป็นเท่าใดในเลขฐานสิบหก
ข. (14B)16
13. รหัสแทนข้อมูลชนิดแรกที่เกิดขึ้น คือรหัสใด
ง. BIT
14. รหัสมาตรฐานที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ คือ รหัสใด
ก. ASCII
15. รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กับเครื่อง IBM ระดับมินิคอมพิวเตอร์ขึ้นไป คือรหัสใด
ค. EBCDIC

บทที่6

หน่วยการเรียนรู้ที่6
แฟ้มข้อมูล

จงเลือคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว
1. ที่เก็บรวบรวมข้อมูลหลายๆ ระเบียน ซึ่งเป็นเรื่องเดียวกัน เรียกว่า
ข. แฟ้มข้อมูล

2. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะของข้อมูลที่จัดเก็ฐอยู่ในแฟ้ม
ค. แฟ้มแสดงผล

3. แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูลไว้อย่างค่อนข้างถาวร และมีความทันสมัยอยู่ตลอดเวลา คือ
ง. แฟ้มหลัก

4. แฟ้มข้อมูลใดที่เก็ฐรายการเปลี่ยนแปลง เพื่อนำไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักต่อไป
ค. แฟ้มข้อมูลอดีต

5. แฟ้มชนิดใดใช้เก็บผลที่เกิดขึ้นจากการจัดการของแฟ้มอื่นๆ
ค. แฟ้มรายการเปลี่ยนแปลง

6. ข้อใดเป็นชนิดของแฟ้มข้อมูลที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน
ง. ถูกทุกข้อ

7. แฟ้มหลักสามารถจัดเป็นแฟ้มชนิดใดได้
ค. แฟ้มนำเข้า/แสดงผล

8. การจัดระเบีบแฟ้มข้อมูลในระดับเบื่องต้นสามารถแบ่งได้เป็น
ก. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับและแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

9. แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่จัดเก็บระเบียนต่างๆ เรียงต่อกันอย่างต่อเนื่องตามลำดับ
ก. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับ

10. การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ สามารถจัดเก็บในสื่อบันทึกแบบใด
ง. ถูกทุกข้อ
11.การจัดเก็บระเบียนข้อมูลเรียงตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ค. Orer File

12.การจัดเก็ฐระเบียนข้อมูลแบบไม่เรียนตามลำดับคีย์หลักในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ เป็นการจัดเก็บในลักษณะใด
ก.Pile

13. ข้อใดเป็นข้อมจำกับของแฟ้มข้อมูลแบบลำดับ
ข. ไม่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดยตรง

14.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่มีการกำหดนความสัมมพัน์ระหว่างตำแหน่งที่เก็บข้อมูลกับแขตข้อมูลที่เป็นเขตหลัก
ค. แฟ้มข้อมูลแบบส่ม

15.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้โดดยตรง
ค. แฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม

16.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่ทุกระเบียนมีขนาดเท่ากัน
ก. แฟ้มข้อมูลแบบบลำดับ

17. ข้อใดเป็นข้อจำกัดของแฟ้มข้อมูลแบบสุ่ม
ง. เปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูลในสื่อบันทึก

18. แฟ้มข้อมูลชนิดใดทีสามารถเข้าถึงระเบียนที่ต้องการได้ทั้งแบบลำดับและแบบสุ่ม
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.

19.การสร้างแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนีวิธีใดที่มีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนที่ใช้เก็บตรรชนี และส่วนที่ใช้เก็บข้อมูล
ค. แฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี


20.ส่วนเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area
มีการแบ่งเนื้อที่เป็นส่วนใดบ้าง
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

21. ส่วนเก็บดรรชนีในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนีที่สร้างด้วยวิธี Prime and Overflow Data Area ข้อใดไม่ใช่การแบ่งระดับดรรชนี
ข. Sector Index

22.ส่วนเก็บดรรชนีในแฟ้มข้อมูลแบบลำดับดรรชนี ที่ส้างด้วยวิธี Index and Data Blocks มีโครงสร้างเป็นแบบใด
ค. แบบต้นไม้

23.แฟ้มข้อมูลชนิดใดที่สามารถมีคีย์หลักได้หลายตัว
ง. แฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์

24.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างความสัมพันธ์ของ
ระเบียนกับค่าของคีย์หลัก
ก. การจัดระเบียบแฟ้มแบบ Inverted

25.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์ การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดที่ใช้วิธีผกผันระหว่างคีย์รองกับคีย์หลัก
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

26.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์การจัดระเบียบแฟ้มแบบใดที่มีการLinked list ช่วยในการค้าหาข้อมูล
ค. การจัดระเบียบแฟ้มแบบหลายคีย์

27.ในแฟ้มข้อมูลแบบหลายคีย์การจัดระเบียลแฟ้มแบบใดที่ใช้การเชื่อมโยงค่าของคีย์รองเข้าด้วย
กัน
ค. การจัดการแฟ้มแบบหลายคีย์

28. ข้อใดเป็นวิธีการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

29. On-Line Processing เป็นการประมวลผลแบบใด
ข. แบบโต้ตอบ

30. การประมวลผลแบบใดที่มีการปรับปรุงข้อมูลทันทีที่เกิดรายการ
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2552

หน่วยการเรียนรู้ที่4
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว
1.การจัดการกับข้อมูลที่รับเข้ามาด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ เรียกว่า
ค. การประมวลผลข้อมูล

2. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล เรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า
ก.สารสนเทศ

3.ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล ประกอบด้วย
ง.ข้อ ก. ข.และค. ประกอบกัน

4.การรับข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ทำผ่านทางใด
ค. หน่วยรับข้อมูล

5.ข้อใดต่อไปนี้แสดงขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
ข.




6.ข้อใด ไม่ใช้ประเภทของการประมวลผลข้อมูล
ข. การประมวลผลด้วยเครื่องคิดเลข

7.การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลน้อย และขั้นตอนการประมวลผลไม่ซับซ้อน
ค. การประมวลผลด้วยมือ

8. การประมวลผลข้อมูลวิธีใด ที่ต้องใช้ทั้งแรงงานคนและเครื่องจักรผสมกัน
ง.การประมวลผลด้วยเครื่องจักร

9. การประมวลผลข้อมูลวิธีใดที่เหมาะจะใช้กับงานที่มีปริมาณข้อมูลมากๆ ต้องการความรวดเร็วและมีขั้นตอนการประมวลผลที่ซับซ้อน
ก. การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์

10.EDP เป็นการประมวลผลข้อมูลด้วยวิธีใด
ก. การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์





11.ข้อใดจัดเป็นกรรมวิธทีในการประมวลผลข้อมูล
ง. ถูกทุกข้อ

12. ขั้นตอนการนำข้อมูลที่เก็บข้อมูลที่เก็บรวมได้มาบันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปจัดเก็บขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ค. การจัดเก็บข้อมูล

13.ขั้นตอนการนำข้อมูลที่บันทึกเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์แล้วนำไปจัดเก็บลงในแฟ้มข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนใดในกรรมวิธีการประมวลผลข้อมูล
ข.การบันทึก

14. กรณีที่แฟ้มข้อมูลจริงเสียหายก็จะนำข้อมูลที่สำรองไว้ติดตั้งลงในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานแทน เราเรียกขั้นตอนนี้ว่าอะไร
ง.การกู้ข้อมูล
15. การสื่อสารข้อมูลสามารถทำได้โดยโดยวิธีใดบ้าง
ง.ถูกทุกข้อ

วันอังคารที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2552

บทที่3

บทที่3
ส่วนที่1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด

1.ข้อเท็จจริงที่เก็บรวบรวมมาได้ เรียกว่า
ก. ข้อมูล ข. สารสนเทศ
ค. ข้อความ ง. ตัวเลข
2.ข้อมูลใด เป็นข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้
ก. รหัสไปรษณีย์ ข. หมายเลขโทรศัพท์
ค. บ้านเลขที่ ง. น้ำหนัก
3.ข้อมูลใด จัดเป็นข้อมูลตัวเลข
ก. ความสูง ข. เลขประจำตัว
ค. ความเร็ว ง. ระยะทาง
4. ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล เรียกว่า
ก. ข้อมูล ข. สารสนเทศ
ค.ข้อความ ง. ตัวเลข
5. หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ
ก. ระเบียน ข. ไบต์
ค. บิต ง. เขตข้อมูล
6. รหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์แทนด้วยเลขฐานใด
ก. เลขฐานสอง ข. เลขฐานแปด
ค. เลขฐานสิบ ง. เลขฐานสิบหก
7. ตัวอักษร 1 ตัว ในระบบคอมพิวเตอร์ เรียกว่า
ก. เขตข้อมูล ข. ไบต์
ค. บิต ง. ระเบียน
8. หน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป เรียกว่า
ก. บิต ข. ไบต์
ค.เขตข้อมูล ง. ระเบียน
9. การนำเขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลมารวมกัน เกิดเป็นข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เรียกว่า
ก. ฐานข้อมุล ข. แฟ้มระเบียน
ค.บิต ง. ระเบียน
10. การนำข้อมูลตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป ที่เป็นเรื่องเดียวกันมารวมกัน เรียกว่า
ก. เขตข้อมูล ข. แฟ้มข้อมูล
ค. ระเบียน ง. ฐานข้อมูล
11. การนำแฟ้มข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน จะเกิดเป็น
ก. ฐานข้อมูล ข. เขตข้อมูล
ค.ระเบียน ง. ฐานข้อมูล

12. การแบ่งประเภทข้อมูล โดยพิจารณาจากองค์กร จะแบ่งได้เป็น
ก. ข้อมูลภายในองค์กร ข. ข้อมูลภายนอกองค์กร
ค. ข้อมูลองค์กรขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
13. การแบ่งประเภทข้อมูลโดยพิจารณาจากการนำข้อมูลไปใช้งาน จะแบ่งได้เป็น
ก. ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และใช้ในการบริหาร
ข. ข้อมูลใช้งานเฉพาะกิจ และข้อมูลใช้งานทั่วไป
ค. ข้อมูลที่ใช้ในงานเฉพาะกิจ และข้อมูลที่ใช้ในงานบริหาร
ง. ถูกทุกข้อ
14. ลักษณะข้อมูลที่ดี ประกอบด้วย
ก. มีความถูกต้อง สมบูรณ์ ข. ตรงต่อความต้องการผู้ใช้
ค. มีความทันสมัย ทันต่อการใช้งาน ง. ถูกทุกข้อ
15. ปัญหาที่สำคัญที่ทำให้เกิดความต้องการใช้ฐานข้อมูล (Database)
ก. ข้อมูลมีปริมาณมาก ข. ข้อมูลมีการซ้ำซ้อนกันมาก
ค.ต้องการความรวดเร็ว ง. ถูกทุกข้อ




ส่วนที่2 จงตอบคำถาม

1. จงบอกความหมายของข้อมูล
- ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เก็บรวบรวมมาได้
ข้อมูลอาจอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ หรือเรื่องราวต่างๆ ที่ยังไม่ได้ผ่านการประมวลผล
2. ข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
- 2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลที่สามารถนำไปคำนวณได้ ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นตัวเลข เช่น อายุ คะแนน น้ำหนัก เป็นต้น
2. ข้อมูลที่ไม่สารมารถนำไปคำนวณได้ ได้ไก่ ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรปนตัวเลข และแม้แต่ข้อมูลที่เป็นตัวเลขแต่ไม่นำไปคำนวณ เช่น ชื่อคน ชื่อสินค้า ที่อยู่ รหัสไปรษณีย์ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
3. สารสนเทศคืออะไร
- ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้เมื่อนำไปประมวลผลแล้วจะได้ผลลัพธ์ตามที่ผู้ใช้ต้องการ และผลลัพธ์ที่ได้นี้เราเรียกว่า สารสนเทศ (Information)
4. จงอธิบายโครงสร้างของการจัดเก็บข้อมูลลงในแฟ้มข้อมูล
- บิต(Bit)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด
ไบต์(Byte)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกันเป็นชุด เกิดเป็นตัวอักขระ(Character) 1 ตัว
เขตข้อมูล(Field)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบขึ้นจากตัวอักขระตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไป เมื่อนำมารวมกันแล้วได้ความหมาย
ระเบียน(Record)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาเขตข้อมูลหลายๆเขตข้อมูลมารวมกันเพื่อให้เกิดเป็นข้อมูล
เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
แฟ้มข้อมูล(File)
หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำข้อมูลตั้งแต่ 1 ระเบียนขึ้นไป ที่เป็นเรื่องเดียกันมารวมกัน




5. จงบอกความหมายของฐานข้อมูล
- โครงสร้างของข้อมูลที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งจะนำมาใช้ในระบบงานต่างๆ ร่วมกัน และถูกจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลเดียวกันอย่างเป็นระบบ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการนำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการฐานข้อมูล
6. การแบ่งประเภทของข้อมูลโดยพิจารณาจากองค์กร สามารถแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
- 2 ประเภท
1. ข้อมูลภายในองค์กร
2. ข้อมูลภายนอกองค์กร
7.การแบ่งประเภทของข้อมูลโดยพิจารณาจากการนำข้อมูลไปใช้งานสามารถแบ่งได้เป็น
กี่ประเภท อะไรบ้าง
- 2 ประเภท
1. ข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
2. ข้อมูลที่ใช้ในการบริหาร
8. จงบอกถึงลักษณะของข้อมูลที่ดี
- 1. มีความถูกต้อง
2. มีความสมบูรณ์
3. ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
4. ทันต่อความต้องการใช้งาน
5. มีความทันสมัย
9. ชนิดของเขตข้อมูลมีอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย
- 1. เขตหลัก(Key Field)
คีย์หลัก(Primary Key)
คีย์รอง(Secondaruy Key)
2. เขตที่ไม่ใช่เขตหลัก (Nonkey Field)
10. ขั้นตอนในการประมวลผลข้อมูลมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง
- 3 ขั้นตอน
1. การรับข้อมูลเข้า (Input)
2. การประมวลผล (Process)
3. การแสดงผล (Output)

วันอังคารที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2552

2

แบบประเมินผลการเรียนรู้ที่ 2

ส่วนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงคำตอบเดียว

1. การสื่อสารข้อมูลในงานคอมพิวเตอร์ หมายถึง
ตอบ ค. การถ่ายทอดข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
2.ทางเดินข้อมูลที่ถูกต้อง คือข้อใด
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

3.ทางเดินสำหรับรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกับหน่วยความจำ คือข้อใด
ตอบ ข.บัสข้อมูล

4.ทางเดินสำหรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำกับอุปกรณ์รับข้อมูล/แสดงผลข้อมูล คือข้อใด
ตอบ ข. บัสข้อมูล

5.ทางเดินสำหรับถ่ายโอนตำแหน่งของหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล คือข้อใด
ตอบ ค. แอดเดรสบัส

6.ทางเดินสำหรับรับส่งสัญญาณควบคุมที่จะควบคุมการทำงานของส่วนต่างๆ คือข้อใด
ตอบ ก. บัสควบคุม

7.ข้อใดคือส่วนประกอบของการสื่อสารข้อมูลระหว่างคอมพิเตอร์หลายเครื่อง
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


8.ในการสื่อสารข้อมูล ข้อมูลที่ส่งไปอาจอยู่ในรูปใด
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ

9.ข้อใดคือชนิดของสัญญาณข้อมูล
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

10. สัญญาณชนิดใดที่มีลักษณะต่อเนื่องอยู่ในรูปแบบของคลื่น
ตอบ ก. สัญญาณแอนะล็อก

11. สัญญาณชนิดใดที่มีลักษณะไม่ต่อเนื่อง โดยการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณจะเกิดขึ้นอย่างทันทีทันใดเวลาหนึ่ง
ตอบ ข. สัญญาณดิจิตอล

12. อุปกรณ์ที่ใช้แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ คือ
ตอบ ค. โมเด็ม

13. ในการสื่อสารข้อมูล ข้อใดเป็นลักษณะของการรับ-ส่งข้อมูล
ตอบ ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.

14. การส่งข้อมูลทีละ 1 ตัวอักขระ จัดเป็นการส่งข้อมูลแบบใด
ตอบ ก. แบบ Asynchronous

15. การส่งข้อมูลเป็นกลุ่มๆ หรือ Packet จัดเป็นการส่งข้อมูลแบบใด
ตอบ ข. แบบ Synchronous

16. ข้อใดเป็นการสื่อสารข้อมูลในลักษณะที่ผู้ส่งข้อมูลจะส่งแต่เพียงฝ่ายเดียว ผู้รับข้อมูลก็จะรับได้เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถโต้ตอบกันได้ในเวลาเดียวกัน
ตอบ ก. การสื่อสารแบบ Simple Duplex

17. ข้อใดเป็นการสื่อสารข้อมูลในลักษณะที่ผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูลจะสามารถโต้ตอบกันได้ในเวลาที่ต่างกัน
ตอบ ข. การสื่อสารแบบ Half Duplex

18. ข้อใดเป็นการสื่อสารข้อมูลในลักษณะที่ผู้ส่งข้อมูลและผู้รับข้อมูลสามารถทำหน้าที่เป็นได้ทั้งผู้ส่งและผู้รับได้ในเวลาเดียวกัน
ตอบ ค. การสื่อสารแบบ Full Duplex

19. สื่อที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสายทองแดงหุ้มฉนวนบิดไขว้กัน คือ
ตอบ ก. สายเกลียวคู่


20. สื่อที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสายที่มีแกนกลางทำด้วยทองแดง 1 เส้น
หุ้มด้วยฉนวน คือ
ตอบ ข. สายเคเบิลแบบมีแกนกลาง

21. สื่อที่ใช้เป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นสายที่ประกอบจากใยแก้วจำนวนมากรวมกัน มีขนาดหนาเท่ากับเส้นผมประกอบอยู่ในสาย คือ
ตอบ ค. เส้นใยนำแสง

22. ช่องทางการสื่อสารข้อมูลที่มีลักษณะเป็นการสื่อสารแบบไร้สาย
ตอบ ง. สัญญาณไมโครเวฟ


23. การเชื่อมต่อสัญญาณจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เป็นการเชื่อมต่อแบบใด
ตอบ ข. แบบ Point – to - Point

24. การเชื่อมต่อสัญญาณจากจุดหนึ่งไปยังจุดรับสัญญาณอีกหลายๆจุด เป็นการเชื่อมต่อแบบใด
ตอบ ก. แบบ Broadcast

25. ข้อใดเป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ทำหน้าที่ในการรับข้อมูลจากเทอร์มินัสที่ต่อเชื่อมอยู่กับ
Host และรับผลจากการประมวลผลที่ Host ส่งกลับไปยังเทอร์มินัสที่ติดต่ออยู่
ตอบ ข. Front – End - Processor

26. ข้อใดเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ควบคุมการสื่อสารข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออยู่กับระบบ
ตอบ ง. Controller

27. ข้อใดเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการหาเส้นทางการับ – ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องแม่ข่ายกับเครื่องอื่นๆในระบบเครือข่าย
ตอบ ก. Router

28. ข้อใดเป็นอุปกรณ์เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งกับระบบเครือข่ายอื่นที่มีความแตกต่างกัน
ตอบ ข. Gateway

29. ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกัน
ตอบ ค. HUB

30. ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณและทำการทวนซ้ำ
ตอบ ค. Repeater

31. ข้อใดเป็นอุปกรณ์รับ – ส่งข้อมูลระหว่างระบบเครือข่ายท้องถิ่น 2 วง
ตอบ ง. Bridge

32. ข้อใดไม่ใช่การเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นระบบเครือข่าย
ตอบ ง. เครือข่ายรูปแบบโทเค็น

33. ข้อใดเป็นการเชื่อมต่อระบบคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องเข้าด้วยกัน
ตอบ ก. เครือข่ายรูปแบบดาว

34.ข้อใดเป็นการนำคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกันเป็นรูปวงแหวน
ตอบ ค. เครือข่ายรูปวงแหวน

35. ในระบบ Internet จะมีการใช้โปรโตคอลใด
ตอบ ค. TCP/IP